เป้าหมาย (Understanding Goal)

วันเสาร์ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

Main

คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์ ทำให้มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วนรอบคอบ ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้ และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม นอกจากนี้คณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือในการศึกษาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและศาสตร์อื่นๆ




ปฏิทินและวิเคราะห์มาตรฐานการจัดกิจกรรมวิชาคณิตศาสตร์ 
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
Week
Input
Possess
Output
Outcome







1
โจทย์
ทบทวนกิจกรรมการคิด
ก่อนเรียนQuarter 3/58
Key  Question
-นักเรียนมีวิธีคิดอย่างไร / ใครมีวิธีคิดแตกต่างจากโจทย์นี้อย่างไรบ้าง?
-
เครื่องมือคิด
Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- คอมพิวเตอร์ power point / GSP
ครูกระตุ้นด้วยคำถามการคิด นักเรียนมีวิธีคิดอย่างไร / ใครมีวิธีคิดแตกต่างจากโจทย์นี้อย่างไรบ้าง
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น และนำเสนอวิธีคิดต่างๆ
- ครูช่วยจัดระบบข้อมูล ชวนนักเรียนแต่ละคนคิด เพื่อให้เห็นทักษะต่างๆ ที่ซ่อนอยู่ในโจทย์แต่ละข้อ กระตุ้นด้วยคำถามให้นักเรียนช่วยแสดงความคิดเห็น
 - นักเรียนทำโจทย์การคิด
ภาระงาน
- ร่วมทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้การบ้านปิดเทอม
- แก้ปัญหาโจทย์การคิด
- ทำชิ้นงานจากโจทย์ใบงานที่ให้

ชิ้นงาน
- สมุดทดคิดทางคณิตฯ
- แผ่นโจทย์การคิด
- ใบงาน / โจทย์จากโปรแกรมGSP
ความรู้
ทักษะและกระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์ เชื่อมโยงกับความรู้ มาประยุกต์ใช้แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ได้
ทักษะ
- ทักษะการคิดวิเคราะห์
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
 -  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา  การให้เหตุผล  การสื่อสาร  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, และ ม.1/6
......................................................................

Week
Input
Possess
Output
Outcome




3 – 5
โจทย์
การประมาณค่า
Key  Question
นักเรียนคิดว่าค่าของ 17,855  +  42,028 โดยวิธีปัดเศษมีค่าประมาณเท่าไร

เครื่องมือคิด
Show and Share
Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู

สื่อและแหล่งเรียนรู้
- เกม ความยาวประหลาด และการคาดเดา
- คอมพิวเตอร์ GSP
- แผ่นโจทย์การประมาณค่า
- สี / ปากกา / กระสีแข็ง
- ครูยกตัวอย่างโจทย์เกมกิจกรรมเดิม
ทบทวนและเตรียมความพร้อมของผู้เรียน ฝึกโจทย์ทักษะการคิด
- ครูพานักเรียนเล่นเกม ความยาวประหลาด และการคาดเดา 

สรุปถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้จากเกมการคิดเกี่ยวกับการคาดเดาการกะประมาณค่าของความยาวนั้น
- ครูกระตุ้นด้วยคำถามการคิด นักเรียนคิดว่าค่าของ17,855  +  42,028 โดยวิธีปัดเศษมีค่าประมาณเท่าไร”
- ครูช่วยจัดระบบวิธีคิดของนักเรียน
Ex วิธีคิด
หาค่าประมาณเป็นจำนวนเต็มพันของแต่ละจำนวนได้  ดังนี้
17,855    18,000
42,028    42,000
และ  18,000  +  42,000  =  60,000
- สรุปการเรียนรู้ของหน่วยการประมารค่าทางคณิตศาสตร์
- นักเรียนทำใบงานและสร้างชิ้นงาน
ภาระงาน
- ทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้การประมาณค่า
- ทำชิ้นงานสรุปความเข้าใจ
- นักเรียนแก้โจทย์ปัญหาสถานการณ์การใช้การประมาณค่าในการคำนวณที่กำหนดให้และสรุปหน่วยการเรียนรู้การประมาณค่า

ชิ้นงาน
- สรุปการเรียนรู้ของหน่วยการประมารค่าทางคณิตศาสตร์
-  ใบงานการใช้การประมาณค่าในการคำนวณ
- สร้างชิ้นงานถ่ายทอดความเข้าใจ(นิทานช่อง ชาร์ต, Mind mapping ฯลฯ)
ความรู้
การให้เหตุผลในการบอกวิธีการประมาณค่าในการคำนวณ โดยการสื่อสารและนำเสนอ ใช้วิธีประมาณค่าเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคิดคำนวณ เพื่อแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ทักษะ
- ทักษะการคิดวิเคราะห์
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการเห็นแบบรูป
- ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
 -  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
มาตรฐาน ค 1.3 มีความเข้าใจเกี่ยวกับการประมาณค่าและนำไปใช้แก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม : ตัวชี้วัด ม.1/1
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา  การให้เหตุผล  การสื่อสาร  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, และ ม.1/6

.......................................................................

Week
Input
Possess
Output
Outcome







6 - 7
โจทย์
ความยาว
Key  Questions
เครื่องมือพื้นฐานที่ใช้ในการวัดมีอะไรบ้างที่นักเรียนรู้จัก / ใช้งานอย่างไรบ้าง
- หน่วยวัดในระบบต่างๆ ที่นักเรียนรู้จักมีหน่วยอะไรบ้าง การเทียบค่าระบบผ่านหน่วยต่างๆ เราจะมีวิธีการเทียบค่าหน่วยเทียบอย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- เครื่องมือวัดความยาว
- ตารางเทียบค่าหน่วยวัดความยาว
- คอมพิวเตอร์
ครูกระตุ้นด้วยคำถามการคิด นักเรียนคิดว่าเครื่องมือพื้นฐานที่ใช้ในการวัดมีอะไรบ้างที่นักเรียนรู้จัก / ใช้งานอย่างไรบ้าง
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น และนำเสนอวิธีคิดต่างๆ
- ครูนำอุปกรณ์ที่นักเรียนเสนอมาให้นักเรียนสังเกต
- ครูกระตุ้นด้วยคำถามการคิด นักเรียนคิดว่าหน่วยวัดในระบบต่างๆ ที่นักเรียนรู้จักมีหน่วยอะไรบ้าง การเทียบค่าระบบผ่านหน่วยต่างๆ เราจะมีวิธีการเทียบค่าหน่วยเทียบอย่างไร
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น

- ครูช่วยจัดระบบข้อมูล ชวนนักเรียนแต่ละคนคิด เพื่อให้เห็นทักษะต่างๆ ที่ซ่อนอยู่ในโจทย์แต่ละข้อ  กระตุ้นด้วยคำถามให้นักเรียนช่วยแสดงความคิดเห็น
 - ครูชวนนักเรียนดูตารางเทียบค่าหน่วยการวัดความยาวตามระบบต่างๆ
ภาระงาน
- ร่วมเสนออุปกรณ์การวัดความยาว
- แก้ปัญหาโจทย์สถานการณ์ต่างๆ ที่ครูท้าทาย
- ทำชิ้นงานจากโจทย์ใบงานที่ให้

ชิ้นงาน
- สมุดทดคิดทางคณิตฯ
- โจทย์สถานการณ์ต่างๆ ที่ให้นักเรียนแก้ปัญหา
- ใบงานโจทย์การเทียบค่าหน่วยต่างๆ ตามระบบวัดความยาว
ความรู้
ความยาวการเปรียบเทียบหน่วยความยาวในระบบเดียวกันและต่างระบบแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้ และให้เหตุผลในการเลือกใช้หน่วยการวัดความยาว
ทักษะ
- ทักษะการคิดวิเคราะห์
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการเห็นแบบรูป
- ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
 -  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
Week
Input
Possess
Output
Outcome




มาตรฐาน ค 2.1 เลือกใช้หน่วยการวัดในระบบต่างๆ เกี่ยวกับความยาว พื้นที่ และปริมาตรได้อย่างเหมาะสม : ตัวชี้วัด ม.1/2
มาตรฐาน ค 2.3 ใช้ความรู้เกี่ยวกับความยาว พื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ : ตัวชี้วัด ม.1/2
ต่างๆ ได้มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา  การให้เหตุผล  การสื่อสาร  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, และ ม.1/6
.....................................................................
Week
Input
Possess
Output
Outcome







8 - 10
โจทย์
พื้นที่
Key  Question
- นักเรียนคิดว่าการเรียกชื่อของรูปสามเหลี่ยมตามลักษณะของด้าน / การเรียกชื่อของรูปสามเหลี่ยมตามลักษณะของมุม ใช้หลักการใดเป็นการใช้เรียกชื่อ
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- รูปสามเหลี่ยม , รูปสี่เหลี่ยม , วงกลม
- คอมพิวเตอร์ GSP
- แผนชาร์ตชนิดของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยม
- สี / ปากกา / กระดาษบลู๊ฟ
 - ครูพานักเรียนเล่นเกม พื้นที่แสนกลจากรูปประหลาด
-  นักเรียนออกแบบเกมกิจกรรมการเล่น เกี่ยวกับพื้นที่ให้น้องหรือผู้อื่นสามารถเล่นและร่วมเรียนรู้ไปด้วยกันได้
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่ารูปสี่เหลี่ยมมีกี่ชนิดใช้สมบัติใดบ้างในการจำแนก / การหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมมีวิธีการหาพื้นที่อย่างไรบ้าง?”
นักเรียนแก้โจทย์ปัญหาพื้นที่รูปร่างที่ครูกำหนดให้
- ใบงานแก้โจทย์ปัญหาการคิดเกี่ยวกับการหาพื้นที่แบบประยุกต์
- สร้างชิ้นงานถ่ายทอดความเข้าใจ(นิทานช่อง , ชาร์ต,Mind mapping ฯลฯ)
ภาระงาน
- นักเรียนร่วมทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้ เกี่ยวกับความยาว
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักการต่างๆ ที่ใช้จำแนกรูปสามเหลี่ยมกับรูปสี่เหลี่ยม
- สืบค้นข้อมูลชนิดและสมบัติของรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม
- ทำชิ้นงานเกี่ยวกับพื้นที่

ชิ้นงาน
- ใบงานเกี่ยวกับการหาพื้นที่รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม และวงกลม
- การแก้โจทย์ปัญหาหาพื้นที่ฉงน
 - สรุปองค์ความรู้ในหน่วยนี้ลงในสมุดคณิตฯ
ความรู้
การสื่อสารและนำเสนอชนิดของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยมได้ แก้ปัญหาโดยคำนวณหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน รูปสี่เหลี่ยมคางหมู รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน รูปสี่เหลี่ยมรูปว่าวและรูปวงกลมได้ สามารถเชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับพื้นที่
ทักษะ
- ทักษะการคิดวิเคราะห์
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการเห็นแบบรูป
- ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
 -  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
มาตรฐาน  2.3 ใช้ความรู้เกี่ยวกับความยาว   พื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆได้ : ตัวชี้วัด ม.1/1
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา  การให้เหตุผล  การสื่อสาร  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, และ ม.1/6
.......................................................................